Hellow Well come to My Blog

1234567890

วันศุกร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2558

วิธีการทำตัวหนังสือให้หนา

วิธีทำตัวหนังสือให้หนา

     การทำตัวหนังสือให้หนานั้น มีวิธีการที่ง่ายมากๆ และรวดเร็วอีกด้วย ดังนี้

สมมติ จะทำคำว่า  " สวัสดีครับ " ให้เป็นตัวหนา จะใช้ Code  <strong>........</> 
ตัวอย่าง ดังนี้ 

< Strong> สวัสดีครับ </strong>

เท่านี้เราก็จะได้ตัวหนังสือ ตัวหนามาใช้งานกันแล้ว...เย้

     ขอบคุณเพื่อนๆ ที่เข้ามาเยี่ยมชม Blog นะครับ


ชอบก็กด Like กด แชร์ เป็นกำลังใจให้ด้วยนะครับ


เพื่อความสำเร็จของคุณ

ชินสิษฐ์ ธีระถกลเกียรติ (ชื่อเดิม เดชา ครับผม)

Samutprakan Thailand 10270

วันอังคารที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555

การจัดวางตำแหน่งของข้อความต่างๆ


การกำหนดตำแหน่งการวางข้อความในแต่ละบรรทัด 
สามารถใช้คำสั่ง <Align> เพิ่มเข้าไปในคำสั่ง <P> 
ซึ่งมีรูปแบบคำสั่ง ดังนี้

<p align=ตำแหน่งที่ต้องการวางข้อความ>...</p>

การวางตำแหน่งข้อความสามารถวางได้ 3 แบบ ดังนี้

left จัดวางข้อความทางด้านซ้าย ซึ่งเป็นค่าปกติ
center จัดวางข้อความตรงกลาง เขียนได้อีกแบบคือ <center>...</center> ผลที่ได้เหมือนกัน
right จัดวางข้อความทางด้านขวา

ตัวอย่างโค้ด


<html>
<head>
<title>เว็บไทยดีดี :: webthaidd</title>
</head>
<body>
<p align=left>ข้อความอยู่ทางซ้าย</p>
<p align=center>ข้อความอยู่ตรงกลาง</p>
<p align=right>ข้อความอยู่ทางขวา</p>
</body>
</html>



ผลที่ได้


เว็บไทยดีดี :: webthaidd
ข้อความอยู่ทางซ้าย
ข้อความอยู่ตรงกลาง
ข้อความอยู่ทางขวา

ประวัติความเป็นของ HTML


ประวัติความเป็นของ HTML 

HTML คืออะไร? 
เอาล่ะครับ ต่อไปนี้เราจะมารู้จักภาษา HTML กันว่ามันคืออะไร มีที่มาที่ไปอย่างไร ใครเป็นคนกำหนดมาตราฐานนี้ และมีประโยชน์อย่างไร
HTML ย่อมาจากอะไร?
เชื่อว่าหลาย ๆ คนคงอย่างจะทราบว่าหมายกันแล้วนะครับ ว่าไอ้เจ้า HTML ที่เราพูดถึงกันอยู่เนี่ย มันย่อมาจากอะไรกันน้า.... HTML ย่อมาจาก HyperText Makeup Language ครับ ถ้าจะให้แปลตรง ๆ ตัวก็ ภาษาที่ใช้สำหรับการสร้างเอกสารแบบ HyperText ไงล่ะครับ
HTML มาจากที่ไหน และใครเป็นคนสร้างมันขึ้นมา?
ภาษา HTML ถือกำเนิดขึ้นมาจากความพยายามที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ในโลกของ Internet นี่แหล่ะครับ ซึ่งก็เป็น ที่ทราบกันอยู่แล้วนะครับว่า ในโลกของ Internet นั้นมันกว้างใหญ่ไพศาลนัก เราไม่สามารถที่จะรู้ได้เลยว่า ใครใช้ระบบปฏิบัติการอะไรกันบ้าง บางคนอาจจะใช้ระบบปฏิบัติการ Windows บนเครื่อง PC ธรรมดา ๆ อย่างเรา ๆ ท่าน ๆ ทั้งหลาย แต่นักวิจัยบางคนอาจจะให้ระบบปฏิบัติการ Unix บนเครื่อง Mainframe ในการเชื่อมต่อเข้าสู่ Internet ก็ได้ ซึ่งจากความ แตกต่างกันทั้งทางต้าน Software และ Hardware นี่เอง ที่เป็นจุดกำเนิด ของ HTML ซึ่งเป็นมาตราฐานที่ทำให้สามารถทำให้ ผู้ที่ใช้ระบบปฏิบัติการทั้งหลายแหล่ที่มีอยู่บนโลกของ Internet สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว สำหรับหน่วยงาเป็นคนกำหนดมาตราฐาน HTML คือ W3C นะครับ สำหรับ version ปัจจุบันนี้ก็เป็น version 4.0 เข้าไปแล้วครับ)
ประโยชน์ของ HTML
สำหรับประโยชน์ของ HTML นี่ก็มีประโยชน์มากมายนะครับ สำหรับประโยชนหลัก ๆ เลยก็คือ การที่มันช่วยให้เราสามารถ เผยแพร่เอกสารต่าง ๆ ของเราให้คนทั้งโลกได้อ่านอย่างไม่จำกัดในระบบของเครื่องหรือว่าระบบของ OS เลยครับ ไม่ว่าใครจะใช้ ระบบปฏิบัติการอะไรก็ตาม ที่มี broswer ที่สามารถอ่าน file format HTML ได้ล่ะก็ ก็จะสามารถเปิดไฟล์เอกสารที่เราต้องการ เผยแพร่อ่านได้ทันทีครับ ไม่เว้นแม้แต่ระบบปฏิบัติการ Unix ที่ run ใน Text Mode ก็สามารถอ่านได้ครับ (ใครที่เคยเล่น Linux คงเคยได้ใช้คำสั่ง Lynx นะครับ 


Cradit ที่มา : http://www.yimwhan.com/

การทำลิ้งค์ไปยังหน้าเว็บเพจหน้าอื่น ภายในเว็บไซต์ของเราเอง


 การทำลิ้งค์ไปยังหน้าเว็บเพจหน้าอื่น ภายในเว็บไซต์ของเราเอง

ตัวอย่างครับ ตามนี้เลยครับ


หน้าเว็บเพจแรกของฉัน กรุณาเลือกหัวข้อที่ต้องการ
    <!-- ลิ้งค์ไปยังเว็บเพจหน้าอื่น ภายในเว็บไซต์ของเรา


  • หน้าแรก
  • วัตถุประสงค์
  • Free JavaScripts!
  • Script Solutions
  • -->


    Code ครับ จัดไปครับ

    <HTML>
    <HEAD>
    <TITLE> นี่คือเว็บเพจแรกของฉัน </TITLE>
    </HEAD>
    <BODY>
    กรุณาเลือกหัวข้อที่ท่านต้องการ<BR>
    <UL>
    <!-- ลิ้งค์ไปยังเว็บเพจหน้าอื่น ภายในเว็บไซต์ของเรา -->
    <LI><A HREF="index.shtml">คุยกันก่อนหน้าแรก</A></LI>
    <LI><A HREF="purpose.shtml">วัตถุประสงค์การก่อตั้งฯ</A></LI>
    <!-- ลิ้งค์ไปยังหน้าเว็บเพจ ของเว็บไซต์อื่น -->
    <LI><A HREF="http://
     www.เวบที่เราจะลิงค์ไปหา ">Free JavaScripts!</A></LI>
    <LI><A HREF="http://www.เวบที่เราจะลิงค์ไปหา">Script Solutions</A></LI>
    </UL>
    </BODY>
    </HTML>

    วันจันทร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555

    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง

    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง


    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง กำหนดโดยใช้ Tag ซึ่งมีขนาด 1 – 7 โดยเรียงจากใหญ่ไปเล็ก


    <html>
    <head>
        <title> การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง</title>
    </head>
    <body>
                <h1>
    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H1 ขนาด 1 </h1>
    <h2>
    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H2 ขนาด 2</h2>
    <h3>
    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H3 ขนาด 3</h3>
    <h4>
    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H4 ขนาด 4</h4>
    <h5>
    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H5 ขนาด 5</h5>
    <h6>
    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H6 ขนาด 6</h6>
    <h7>การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H7 ขนาด 7</h7>
    </body>
    </html></hn>



    รูปแบบคำสั่ง HTML ในการกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง ข้อความ การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง

    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H1 ขนาด 1

    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H2 ขนาด 2

    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H3 ขนาด 3

    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H4 ขนาด 4

    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H5 ขนาด 5
    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H6 ขนาด 6
    การกำหนดตัวอักษรเป็นหัวเรื่อง H7 ขนาด 7








    การกำหนดลักษณะของตัวอักษรและแบบของตัวอักษร

    การกำหนดลักษณะของตัวอักษรและแบบของตัวอักษร



    <HTML>
    <HEAD>
    <TITLE>การกำหนดลักษณะของตัวอักษรและแบบของตัวอักษร</TITLE>
    </HEAD>
    <BODY>
        การกำหนดรูปแบบตัวอักษรแบบต่าง ๆ <P>
        <B> การกำหนดตัวอักษรแบบตัวหนา</B><P>
        <I> การกำหนดตัวอักษรแบบตัวเอียง</I><P>
        <S> การกำหนดตัวอักษรแบบตัวขีดฆ่า</S><P>
        <U> การกำหนดตัวอักษรแบบขีดเส้นใต้</U><P>
        ข้อความแบบฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร Super Script E=MC<SUP>2</SUP><P>
        ข้อความแบบสูตรทางวิทยาศาสตร์ Sub Script H<SUB>2</SUB>O<P>
    </BODY>
    </HTML>


    ผลลัพธ์ที่ได้
    การกำหนดรูปแบบตัวอักษรแบบต่าง ๆ
    การกำหนดตัวอักษรแบบตัวหนา
    การกำหนดตัวอักษรแบบตัวเอียง
    การกำหนดรูปแบบตัวอักษรแบบขีดฆ่า
    การกำหนดรูปแบบตัวอักษรแบบขีดเส้นใต้
    ข้อความแบบฟังก์ชั่นทางคณิตศาสตร์ Super Script E=MC2
    ข้อความแบบสูตรทางวิทยาศาสตร์ Sub Script H2O

    การใส่รูปภาพในตารางด้วยคำสั่ง HTML

    สวัสดีครับ ผมเดชา ธีระถกลเกียริ ครับ

    ในบทความนี้ จะอธิบายถึงการสร้างตารางด้วยภาษา HTML กันครับ การสร้างตารางนั้น
    ไม่ยุ่งยากครับ เราสามารถสร้าง และปรับแต่งได้ตามแบบฉบับที่เราต้องการได้เลยครับ

    ว่าแล้วก็มาเริ่มกันเลยครับ Code ในการสร้างตารางแบบง่ายๆ ครับ
    ( เอาไปปรับแต่งได้ตามสะดวกเลยนะครับ )

    **** จัดไปครับ ****

    Code HTML


    <html>
    <head><title>การใส่รูปภาพในตาราง</title>
    <body>
          <table align="center" border="2" bordercolor="blue" hight="70" style="width: 360px;">
          <caption>การใส่รูปภาพในตาราง </caption>
    <tr>
             <td align="center"><img src="t014.jpg" td="td" />
             <td align="center"><img src="t006.jpg" td="td" />
             <td align="center"><img src="t020.jpg" td="td" />
        </td></td></td></tr>
    <tr>
             <td align="center">รูปที่ 1</td>
             <td align="center">รูปที่ 2</td>
             <td align="center">รูปที่ 3</td>
         </tr>
    </table>
    </body>
    </head></html>

    การใส่รูปภาพในตาราง
    การใส่รูปภาพในตาราง
    รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3

    การสร้างตารางด้วย HTML


    สวัสดีครับ ผมเดชา ธีระถกลเกียริ ครับ

    ในบทความนี้ จะอธิบายถึงการสร้างตารางด้วยภาษา HTML กันครับ การสร้างตารางนั้น
    ไม่ยุ่งยากครับ เราสามารถสร้าง และปรับแต่งได้ตามแบบฉบับที่เราต้องการได้เลยครับ

    ว่าแล้วก็มาเริ่มกันเลยครับ Code ในการสร้างตารางแบบง่ายๆ ครับ
    ( เอาไปปรับแต่งได้ตามสะดวกเลยนะครับ )

    **** จัดไปครับ ****

    <html>
    <head>
    <title>การสร้างตารางด้วยภาษา HTML</title>
    </head>
    <body>
           
             <table border="5">
    <table align="center" width="360" hight="70" border=2 bordercolor="blue">
                     <caption><strong>การสร้างตารางอย่างง่ายๆ</strong></caption>


    <tr>
                                  <td>การสร้างตารางแบบ 1 แถว 1 คอลัมน์</td>
                                  <td>การสร้างตารางแบบ 1 แถว 1 คอลัมน์</td>
                          </tr>
    <tr>
                                  <td>การสร้างตารางแบบ 2 แถว 2 คอลัมน์</td>
                                  <td>การสร้างตารางแบบ 2 แถว 2 คอลัมน์</td>
                          </tr>
    <tr>
                                  <td>การสร้างตารางแบบ 3 แถว 3 คอลัมน์</td>
                                  <td>การสร้างตารางแบบ 3 แถว 3 คอลัมน์</td>
                          </tr>
    </table>
    </body>
    </html>
    ตัวอย่างการสร้างตาราง





    การสร้างตารางด้วยภาษา HTML
    การสร้างตารางอย่างง่ายๆ
    การสร้างตารางแบบ 1 แถว 1 คอลัมน์ การสร้างตารางแบบ 1 แถว 1 คอลัมน์
    การสร้างตารางแบบ 2 แถว 2 คอลัมน์ การสร้างตารางแบบ 2 แถว 2 คอลัมน์
    การสร้างตารางแบบ 3 แถว 3 คอลัมน์ การสร้างตารางแบบ 3 แถว 3 คอลัมน์